วันเสาร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 3099

สรุปงานวิจัย
เรื่อง การเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด
ประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคณิตศาสตร์แบบรายคู่และรายบุคคล
ปริญญานิพนธ์
ของ สรรพมงคล จันทร์ด้ง
ความมุ่งหมายงานวิจัย
     - เพื่อเปรียบเทียบคะแนนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายคู่
     - เพื่อเปรียบเทียบคะแนนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายบุคคล
     - เพื่อเปรียบเทียบคะแนนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายคู่และรายบุคคล
     - เพื่อเปรัยบผลต่างคะแนนก่อนและหลังการได้รับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายคู่และรายบุคคล

ความสำคัญ
     - ทำให้ทราบผลว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์สามารถพัฒนาทักษะพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้
     - ทำให้ทราบถึงผลการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายคู่และรายบุคคล
     - เพื่อสามารถนำผลของการศึกษาไปประบุกต์ใช้พัฒนาการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้

ขอบเขตงานวิจัย
     ประชากร
     นักเรียนชายหญิงที่มีอายุ 5-6 ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่2 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2543 โรงเรียนชุมชนบ้านพบพระ อำเภอ พบพระ จังหวัด ตาก
     กลุ่มตัวอย่าง
     นักเรียนชายหญิงที่มีอายุ 5-6 ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่2 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2543 โรงเรียนชุมชนบ้านพบพระ อำเภอ พบพระ จังหวัด ตาก จำนวน 30 คน
     ตัวแปรที่ศึกษา
     - ตัวแปรอิสระ
     1. การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายคู่
     2. การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบราย
บุคคล
     - ตัวแปรตาม คือ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

นิยามศัพท์เฉพาะ
     - เด็กปฐมวัย หมายถึง นักเรียนชายหญิงที่มีอายุ 5-6 ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่2 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2543 โรงเรียนชุมชนบ้านพบพระ อำเภอ พบพระ จังหวัด ตาก
     - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางตณิศาสตร์ หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งเสนอบทเรียนในลักษณะของรูปภาพ ตัวหนังสือ เสียงพูดและเสียงดนตรี เพท่อให้เด็กสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง โดยการมีปฎิสัมพันธ์กับโปรแกรม
     - ทักษะพื้นฐานทางคณิศาสตร์ของเด็กปฐมวัย หมายถึง การแสดงออกทางคะแนนของเด็กปฐมวัยในด้านความสามารถทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ กลังจากที่เด็กได้รับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์

สมมติฐาน
     - การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายคู่มีทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ สูงขึ้น
     - การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายบุคคลมีทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ สูงขึ้น
     - การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายคู่และรายคคลมีทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ แตกต่างกัน
     - การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายคู่มีค่าเฉลี่ยทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์สูงขึ้นแตกต่างกัน

เครื่องมือ
     - ตารางการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิศาสตร์
     - แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
     เด็กปฐมยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายคู่มีทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ สูงขึ้นกว่าเด็กปฐมยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายบุคคล

วันพุธที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอน : วันศุกร์ที่ 3 พฤศจิกายน 2555

- เนื่องจากวันนี้เป็นการเรียนครั้งแรกในรายวิชานี้
อาจารย์จึงทำความคึ้น้คยกับนักศึกษาพร้อมกับอธิบายถึงขอบเขตของรายวิชานี้
โดยการแตกออกมาเป็นผังมโนทัศน์ ซึ่งสามารถเข้าใจได้ง่ายกว่า
- อาจารย์พูดถึงทฤษฎีต่างๆของนักวิชาการที่เกี่ยวของกับคณิตศาสตร์ เช่น
ทฤษฎีของเพียเจต์ บรูเนอร์ เป็นต้น
-นักศึกษาได้ทำผังมโนทัศน์เกี่ยวกับรายวิชานี้ ตามความเข้าใจของตนเอง
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

      คณิตศาสตร์เป็นความสามารถด้านสติปัญญา ดังนั้นการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยได้อย่างเต็มศักยภาพสูงสุดนั้น จึงยึดทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเป็นแนวทางสู่การปฏิบัติ ดังนี้  เพียเจต์  (ชลลดาวัลย์ ตันมงคล. 2538 : 10, อ้างอิงมาจาก Piget.1962 : 74) สติปัญญาเป็นความสามารถในการคิด ความสามารถในการวางแผนและปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ความสามารถดังกล่าวจะพัฒนาความคิดความเข้าใจในระดับง่าย ๆ ในวัยเด็กไปสู่ระดับที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น ในวัยผู้ใหญ่คิมเบิล (อารี เพชรผุด. 2528 : 203 - 204 : อ้างอิงมาจาก Kimble.1961) กล่าวว่า สติปัญญาคือผลงานความสามารถ  5  อย่าง  คือ
1. ความสามารถในการใช้กระบวนการที่เกี่ยวกับสัญลักษณ์ (Symbol)
2. ความสามารถในการคิดหาเหตุผล (Reasoning Thinking)
3. ความสามารถในการวางเป้าหมายในการกระทำ (Goal)
4. ความสามารถในการปฏิบัติอย่างได้ผลต่อสิ่งแวดล้อม
5. ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมและปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับตนเอง  อารี รังสินันท์              ( 2530 : 34 )  ได้ให้ความหมายของสติปัญญาว่า หมายถึงความสามารถทางสมองของบุคคลในการเรียนรู้ การคิดหาเหตุผล การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ตลอดจนการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ การปรับปรุงตัวเองต่อสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และสามารถดำรงตนในสังคมได้อย่างเป็นสุขโกวิท ประวาลพฤกษ์ และคนอื่น ๆ  (ม.ป.ป. : 77)  กล่าวว่า สติปัญญาคือความสามารถทางสมองทางด้านการรับรู้ การจำ การเข้าใจ การคิดอย่างมีเหตุผล การเข้าใจสิ่งซับซ้อน เข้าใจนามธรรม สามารถแก้ปัญหาที่ยาก ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากพันธุกรรมที่เจริญเติบโตตามวัย แต่อีกส่วนหนึ่งสามารถส่งเสริมได้จากการเรียนรู้และฝึกหัดจากสิ่งแวดล้อมสรุปได้ว่า สติปัญญา หมายถึง ความสามารถทางสมองของบุคคลที่แสดงออกเกี่ยวกับการคิด  ความจำ  การแก้ปัญหา  ความมีเหตุผล ความสัมพันธ์  ภาษา  ซึ่งเกี่ยวข้องกับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของเด็ก อีกทั้ง ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพความสามารถทางสติปัญญารวมถึงความสามารถทางคณิตศาสตร์ได้มาจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ ตามวัยของเด็ก




ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

      คณิตศาสตร์เป็นความสามารถด้านสติปัญญา ดังนั้นการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยได้อย่างเต็มศักยภาพสูงสุดนั้น จึงยึดทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเป็นแนวทางสู่การปฏิบัติ ดังนี้  เพียเจต์  (ชลลดาวัลย์ ตันมงคล. 2538 : 10, อ้างอิงมาจาก Piget.1962 : 74) สติปัญญาเป็นความสามารถในการคิด ความสามารถในการวางแผนและปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ความสามารถดังกล่าวจะพัฒนาความคิดความเข้าใจในระดับง่าย ๆ ในวัยเด็กไปสู่ระดับที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น ในวัยผู้ใหญ่คิมเบิล (อารี เพชรผุด. 2528 : 203 - 204 : อ้างอิงมาจาก Kimble.1961) กล่าวว่า สติปัญญาคือผลงานความสามารถ  5  อย่าง  คือ
1. ความสามารถในการใช้กระบวนการที่เกี่ยวกับสัญลักษณ์ (Symbol)
2. ความสามารถในการคิดหาเหตุผล (Reasoning Thinking)
3. ความสามารถในการวางเป้าหมายในการกระทำ (Goal)
4. ความสามารถในการปฏิบัติอย่างได้ผลต่อสิ่งแวดล้อม
5. ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมและปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับตนเอง  อารี รังสินันท์              ( 2530 : 34 )  ได้ให้ความหมายของสติปัญญาว่า หมายถึงความสามารถทางสมองของบุคคลในการเรียนรู้ การคิดหาเหตุผล การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ตลอดจนการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ การปรับปรุงตัวเองต่อสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และสามารถดำรงตนในสังคมได้อย่างเป็นสุขโกวิท ประวาลพฤกษ์ และคนอื่น ๆ  (ม.ป.ป. : 77)  กล่าวว่า สติปัญญาคือความสามารถทางสมองทางด้านการรับรู้ การจำ การเข้าใจ การคิดอย่างมีเหตุผล การเข้าใจสิ่งซับซ้อน เข้าใจนามธรรม สามารถแก้ปัญหาที่ยาก ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากพันธุกรรมที่เจริญเติบโตตามวัย แต่อีกส่วนหนึ่งสามารถส่งเสริมได้จากการเรียนรู้และฝึกหัดจากสิ่งแวดล้อมสรุปได้ว่า สติปัญญา หมายถึง ความสามารถทางสมองของบุคคลที่แสดงออกเกี่ยวกับการคิด  ความจำ  การแก้ปัญหา  ความมีเหตุผล ความสัมพันธ์  ภาษา  ซึ่งเกี่ยวข้องกับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของเด็ก อีกทั้ง ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพความสามารถทางสติปัญญารวมถึงความสามารถทางคณิตศาสตร์ได้มาจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ ตามวัยของเด็ก



ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

      คณิตศาสตร์เป็นความสามารถด้านสติปัญญา ดังนั้นการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยได้อย่างเต็มศักยภาพสูงสุดนั้น จึงยึดทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเป็นแนวทางสู่การปฏิบัติ ดังนี้  เพียเจต์  (ชลลดาวัลย์ ตันมงคล. 2538 : 10, อ้างอิงมาจาก Piget.1962 : 74) สติปัญญาเป็นความสามารถในการคิด ความสามารถในการวางแผนและปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ความสามารถดังกล่าวจะพัฒนาความคิดความเข้าใจในระดับง่าย ๆ ในวัยเด็กไปสู่ระดับที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น ในวัยผู้ใหญ่คิมเบิล (อารี เพชรผุด. 2528 : 203 - 204 : อ้างอิงมาจาก Kimble.1961) กล่าวว่า สติปัญญาคือผลงานความสามารถ  5  อย่าง  คือ
1. ความสามารถในการใช้กระบวนการที่เกี่ยวกับสัญลักษณ์ (Symbol)
2. ความสามารถในการคิดหาเหตุผล (Reasoning Thinking)
3. ความสามารถในการวางเป้าหมายในการกระทำ (Goal)
4. ความสามารถในการปฏิบัติอย่างได้ผลต่อสิ่งแวดล้อม
5. ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมและปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับตนเอง  อารี รังสินันท์              ( 2530 : 34 )  ได้ให้ความหมายของสติปัญญาว่า หมายถึงความสามารถทางสมองของบุคคลในการเรียนรู้ การคิดหาเหตุผล การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ตลอดจนการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ การปรับปรุงตัวเองต่อสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และสามารถดำรงตนในสังคมได้อย่างเป็นสุขโกวิท ประวาลพฤกษ์ และคนอื่น ๆ  (ม.ป.ป. : 77)  กล่าวว่า สติปัญญาคือความสามารถทางสมองทางด้านการรับรู้ การจำ การเข้าใจ การคิดอย่างมีเหตุผล การเข้าใจสิ่งซับซ้อน เข้าใจนามธรรม สามารถแก้ปัญหาที่ยาก ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากพันธุกรรมที่เจริญเติบโตตามวัย แต่อีกส่วนหนึ่งสามารถส่งเสริมได้จากการเรียนรู้และฝึกหัดจากสิ่งแวดล้อมสรุปได้ว่า สติปัญญา หมายถึง ความสามารถทางสมองของบุคคลที่แสดงออกเกี่ยวกับการคิด  ความจำ  การแก้ปัญหา  ความมีเหตุผล ความสัมพันธ์  ภาษา  ซึ่งเกี่ยวข้องกับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของเด็ก อีกทั้ง ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพความสามารถทางสติปัญญารวมถึงความสามารถทางคณิตศาสตร์ได้มาจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ ตามวัยของเด็ก


คิมเบิล
กล่าวว่า สติปัญญาคือผลงานความสามารถ  5  อย่าง  คือ
1. ความสามารถในการใช้กระบวนการที่เกี่ยวกับสัญลักษณ์ (Symbol)
2. ความสามารถในการคิดหาเหตุผล (Reasoning Thinking)
3. ความสามารถในการวางเป้าหมายในการกระทำ (Goal)
4. ความสามารถในการปฏิบัติอย่างได้ผลต่อสิ่งแวดล้อม
5. ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมและปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับตนเองอารี รังสินันท์   ( 2530 : 34 )  ได้ให้ความหมายของสติปัญญาว่า หมายถึงความสามารถทางสมองของบุคคลในการเรียนรู้ การคิดหาเหตุผล การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ตลอดจนการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ การปรับปรุงตัวเองต่อสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และสามารถดำรงตนในสังคมได้อย่างเป็นสุขโกวิท ประวาลพฤกษ์ และคนอื่น ๆ  (ม.ป.ป. : 77)  กล่าวว่า สติปัญญาคือความสามารถทางสมองทางด้านการรับรู้ การจำ การเข้าใจ การคิดอย่างมีเหตุผล การเข้าใจสิ่งซับซ้อน เข้าใจนามธรรม สามารถแก้ปัญหาที่ยาก ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากพันธุกรรมที่เจริญเติบโตตามวัย แต่อีกส่วนหนึ่งสามารถส่งเสริมได้จากการเรียนรู้และฝึกหัดจากสิ่งแวดล้อมสรุปได้ว่า สติปัญญา หมายถึง ความสามารถทางสมองของบุคคลที่แสดงออกเกี่ยวกับการคิด  ความจำ  การแก้ปัญหา  ความมีเหตุผล ความสัมพันธ์  ภาษา  ซึ่งเกี่ยวข้องกับความสามารถทางคณิตศาสตร์ของเด็ก อีกทั้ง ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพความสามารถทางสติปัญญารวมถึงความสามารถทางคณิตศาสตร์ได้มาจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ ตามวัยของเด็ก

บันทึกการเรียนการสอน : วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2555

- อาจารย์มอบหมายงานให้ดังนี้
1. หาคำว่า คณิตศาสตร์ 3 ภาษา
2. ค้นคว้าจากหนังสือ ถึงความหมายของคณิตศาสตร์ พร้อม บันทึกรายละเอียดของหนังสือมาด้วย
3. ค้นคว้าเรื่องจุดหมาย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ของการเรียนคณิตศาสต์
4. แผนการจัดการสอนคณิตศาสตร์
5. ขอบเขตของคณิตศาสต์มีอะไรบ้าง
จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษาจึงควรมีดังนี้
1. เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น รู้จักคำศัพท์ และสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ขั้นต้น ฯลฯ
2. เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น การบวก หรือการเพิ่ม การลดหรือการลบ ฯลฯ
3. เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการในการหาคำตอบ เช่น การจดบันทึก การชั่งน้ำหนัก ฯลฯ
4. เพื่อให้เด็กฝึกฝนทักษะคณิตศาสตร์พื้นฐาน เช่น การนับ การวัด การจับคู่ การจัดประเภท การเปรียบเทียบ การลำดับ ฯลฯ
5. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ความอยากรู้ และอยากค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง




วันอังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอน : วันศุกร์ที่ 17 พฤศจิกายน 2555

- จากสัปกาห์ที่แล้วที่อาจารย์ให้นักศึกษาหาหนังสือคณิตศาสตร์
ที่คิดว่าสามารถนกความรู้ในหนังสือมาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนได้
- หลังจากนั้นให้แบ่งเป็นกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมโดย ให้นำหนังสือ ที่มี ความหมาน จุดมุ่งหมาย หลักการ ทางคณิตศาสต์ มาเขียนรวบรวมเป็ยกลุ่ม เพื่อกาข้อความที่ดีที่สุด หลังจากนั้นออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
- หลังจากนั้นอาจารน์ได้สรุปเกี่ยวกับ หลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
บุญทัน อยู่ชมบุญ (2529 : 24-25) ได้กล่าวถึงหลักการสอนคณิตศาสตร์ ดังนี้
1. สอนโดยคำนึงถึงความพร้อมของนักเรียน คือ พร้อมในด้านร่างกาย อารมณ์ สติ
ปัญญา และพร้อมในแง่ความรู้พื้นฐานที่จะมาต่อเนื่องกับความรู้ใหม่ โดยครูต้องมีการทบทวนความรู้เดิมก่อน เพื่อให้ประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ต่อเนื่องกัน จะช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียนได้ดี
2. การจัดกิจกรรมการสอนต้องให้เหมาะสมกับวัย ความต้องการ ความสนใจ และ
ความสามารถของนักเรียนเพื่อมิให้เกิดปัญหาตามมาภายหลัง
3. ควรคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ครู
จำเป็นต้องคำนึงถึงให้มากกว่าวิชาอื่น ๆ ในแง่ความสามารถทางสติปัญญา
4. ควรเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก่อน
เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ จะช่วยให้นักเรียนมีความพร้อมตามวัย และความสามารถของแต่ละคน
5. วิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีระบบที่จะต้องเรียนไปตามลำดับขั้น การสอนเพื่อสร้าง
ความคิด ความเข้าใจ ในระยะเริ่มแรกจะต้องเป็นประสบการณ์ที่ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน สิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องและทำให้เกิดความสับสน จะต้องไม่นำเข้ามาในกระบวนการเรียนการสอน การสอนจะเป็นไปตามลำดับขั้นตอนที่วางไว้
6. การสอนแต่ละครั้งจะต้องมีจุดประสงค์ที่แน่นอนว่า จัดกิจกรรมเพื่อสนองจุดประสงค์
อะไร
7. เวลาที่ใช้สอน ควรใช้ระยะเวลาพอสมควรไม่นานจนเกินไป
8. ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการยืดหยุ่นให้นักเรียนได้มีโอกาสเลือกทำ
กิจกรรมได้ตามความพอใจ ตามความถนัดของตน และให้อิสระในการทำงานแก่นักเรียน สิ่งสำคัญประการหนึ่ง คือ การปลูกฝังเจตคติที่ดีแก่นักเรียนในการเรียนคณิตศาสตร์ ถ้าเกิดมีขึ้น จะช่วยให้ นักเรียนพอใจในการเรียนวิชานี้ เห็นประโยชน์และคุณค่าย่อมจะสนใจมากขึ้น
9. การสอนที่ดีควรเปิดโอกาสให้นักเรียนมีการวางแผนร่วมกับครู เพราะจะช่วยให้ครู
เกิดความมั่นใจในการสอน และเป็นไปตามความพอใจของนักเรียน
10. การสอนคณิตศาสตร์ควรให้นักเรียนมีโอกาสทำงานร่วมกันหรือมีส่วนร่วมเป็นการ
ค้นคว้า สรุปกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ด้วยตนเองร่วมกับเพื่อน ๆ
11. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรสนุกสนานบันเทิงไปพร้อมกับการเรียนรู้ด้วย
จึงจะสร้างบรรยากาศที่น่าติดตามให้แก่นักเรียน
12. นักเรียนจะเรียนได้ดีเมื่อเริ่มเรียนโดยครูใช้ของจริง อุปกรณ์ ซึ่งเป็นรูปธรรม นำไปสู่
นามธรรม ตามลำดับ จะช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ มิใช่จำดังเช่นการสอนในอดีตที่ผ่านมา ทำให้เห็นว่าวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ง่ายต่อการเรียนรู้
13. การประเมินผลการเรียนการสอนเป็นกระบวนการต่อเนื่องและเป็นส่วนหนึ่งของ
การเรียนการสอน ครูอาจใช้วิธีการสังเกต การตรวจแบบฝึกหัด การสอบถามเป็นเครื่องมือในการ วัดผล จะช่วยให้ครูทราบข้อบกพร่องของนักเรียนและการสอนของตน
14. ไม่ควรจำกัดวิธีคำนวณหาคำตอบของนักเรียน แต่ควรแนะนำวิธีคิดที่รวดเร็ว และ
แม่นยำภายหลัง
15. ฝึกให้นักเรียนรู้จักตรวจเช็คคำตอบด้วยตัวเอง
บุญทัน อยู่ชมบุญ (2529 : 24-25) ได้กล่าวถึงหลักการสอนคณิตศาสตร์ ดังนี้
1. สอนโดยคำนึงถึงความพร้อมของนักเรียน คือ พร้อมในด้านร่างกาย อารมณ์ สติ
ปัญญา และพร้อมในแง่ความรู้พื้นฐานที่จะมาต่อเนื่องกับความรู้ใหม่ โดยครูต้องมีการทบทวนความรู้เดิมก่อน เพื่อให้ประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ต่อเนื่องกัน จะช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียนได้ดี
2. การจัดกิจกรรมการสอนต้องให้เหมาะสมกับวัย ความต้องการ ความสนใจ และ
ความสามารถของนักเรียนเพื่อมิให้เกิดปัญหาตามมาภายหลัง
3. ควรคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ครู
จำเป็นต้องคำนึงถึงให้มากกว่าวิชาอื่น ๆ ในแง่ความสามารถทางสติปัญญา
4. ควรเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก่อน
เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ จะช่วยให้นักเรียนมีความพร้อมตามวัย และความสามารถของแต่ละคน
5. วิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีระบบที่จะต้องเรียนไปตามลำดับขั้น การสอนเพื่อสร้าง
ความคิด ความเข้าใจ ในระยะเริ่มแรกจะต้องเป็นประสบการณ์ที่ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน สิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องและทำให้เกิดความสับสน จะต้องไม่นำเข้ามาในกระบวนการเรียนการสอน การสอนจะเป็นไปตามลำดับขั้นตอนที่วางไว้
6. การสอนแต่ละครั้งจะต้องมีจุดประสงค์ที่แน่นอนว่า จัดกิจกรรมเพื่อสนองจุดประสงค์
อะไร
7. เวลาที่ใช้สอน ควรใช้ระยะเวลาพอสมควรไม่นานจนเกินไป
8. ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการยืดหยุ่นให้นักเรียนได้มีโอกาสเลือกทำ
กิจกรรมได้ตามความพอใจ ตามความถนัดของตน และให้อิสระในการทำงานแก่นักเรียน สิ่งสำคัญประการหนึ่ง คือ การปลูกฝังเจตคติที่ดีแก่นักเรียนในการเรียนคณิตศาสตร์ ถ้าเกิดมีขึ้น จะช่วยให้ นักเรียนพอใจในการเรียนวิชานี้ เห็นประโยชน์และคุณค่าย่อมจะสนใจมากขึ้น
9. การสอนที่ดีควรเปิดโอกาสให้นักเรียนมีการวางแผนร่วมกับครู เพราะจะช่วยให้ครู
เกิดความมั่นใจในการสอน และเป็นไปตามความพอใจของนักเรียน
10. การสอนคณิตศาสตร์ควรให้นักเรียนมีโอกาสทำงานร่วมกันหรือมีส่วนร่วมเป็นการ
ค้นคว้า สรุปกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ด้วยตนเองร่วมกับเพื่อน ๆ
11. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรสนุกสนานบันเทิงไปพร้อมกับการเรียนรู้ด้วย
จึงจะสร้างบรรยากาศที่น่าติดตามให้แก่นักเรียน
12. นักเรียนจะเรียนได้ดีเมื่อเริ่มเรียนโดยครูใช้ของจริง อุปกรณ์ ซึ่งเป็นรูปธรรม นำไปสู่
นามธรรม ตามลำดับ จะช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ มิใช่จำดังเช่นการสอนในอดีตที่ผ่านมา ทำให้เห็นว่าวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ง่ายต่อการเรียนรู้
13. การประเมินผลการเรียนการสอนเป็นกระบวนการต่อเนื่องและเป็นส่วนหนึ่งของ
การเรียนการสอน ครูอาจใช้วิธีการสังเกต การตรวจแบบฝึกหัด การสอบถามเป็นเครื่องมือในการ วัดผล จะช่วยให้ครูทราบข้อบกพร่องของนักเรียนและการสอนของตน
14. ไม่ควรจำกัดวิธีคำนวณหาคำตอบของนักเรียน แต่ควรแนะนำวิธีคิดที่รวดเร็ว และ
แม่นยำภายหลัง
15. ฝึกให้นักเรียนรู้จักตรวจเช็คคำตอบด้วยตัวเอง

บันทึกการเรียนการสอน : วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน 2555

-  อาจารย์ทำการเช็คชื่อนักศึกษาที่มาเรียนในวันนี้เป็นอันดับแรก 

-  อาจารย์ได้พูดถึงขอบข่ายของคณิตศาสตร์  โดย ( นิตยา  ประพฤติกิจ )  ว่ามีอะไรบ้างโดยบอกความหมาย และยกตัวอย่างให้เห็นภาพอย่างละเอียด เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น
เยาวพา เดชะคุปต์  ได้กล่าวว่า
1. การจัดกลุ่ม 
2. การฝึกหัด 
3. ระบบจำนวน
4. ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่าง ๆ 
5. คุณสมบุติของคณิตศาสตร์ 
6. ลำดับสำคัญ และ ประโยชน์ของคณิตสาสตร์ 
7. การวัด (เพื่อหาปริมาตร) 
8. รูปทรงเรขาคณิต (สิ้งของที่มีมิติต่าง ๆ จากสิ่งรอบ ๆ ตัว ) 
9. สถิติและกร๊าฟ  (การนำเสนอข้อมูล การทำแผนภูมิ )
นิตยา  ประพฤติกิจ 
1. การนับ 
2. ตัวเลข 
3. การจับคู่ 
4. การจัดประเภท
5. การเปรียบเทียบ
6. การจัดลำดับ
7. รูปทรงและเนื้อที่
8. การวัด
9 .เซต
10.เศษส่วน
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย
12.การอนุรักษ์

บันทึกการเรียนการสอน : วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม 2555

- อาจารย์ให้นักศึกษานำกล่องที่ได้สั่งมาคนละ 1 กล่อง หลังจากนั้นให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม
- นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำกล่องที่เตรียมมาคนละ 1 กล่อง มาประดิษฐ์เป็นสิ่งต่างๆตามจินตนาการ
ซึ่งแต่ละกลุ่มจะมีข้อบังคับที่แตกต่างกันออกไป
กลุ่มที่1 ทำงานภายใต้เงื่อนไขอย่างอิสระ
กลุ่มที่2 ทำงานโดยก้ามพูดคุยกัน
กลุ่มที่3 ทำงานโดยสามารถปรึกษากันก่อนเริ่มงานได้
ซึ่งตอนท้ายได้สรุปว่าการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ให้เด็กนั้นควรเปิดโอกาสให้เด็กได้ทำอย่างอิสระ

บันทึกการเรียนการสอน : วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม 2555

- อาจารย์สอนเรื่อง มาตราฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง
ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรรู้ เพื่อที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในอนาคตได้
- คำว่า "คณิตศาสตร์" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า คณิต (การนับ หรือ คำนวณ) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ. คำนี้ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า mathematics มาจากคำภาษากรีก (máthema) แปลว่า "วิทยาศาสตร์, ความรู้, และการเรียน" และคำว่า (mathematikós) แปลว่า "รักที่จะเรียนรู้". ในอเมริกาเหนือนิยมย่อ mathematics ว่า math ส่วนประเทศอื่นๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษนิยมย่อว่า maths